Friday, May 15, 2015

งานสัมภาษณ์ผู้สอน



ห้องเรียนลีลาศ




เที่ยวไม่ไกล ไปกำแพงแสนนน





                             หลังจากที่รอคอยกันมานานกับ ดอกชมพูพันธุ์ทิพย์ กำแพงแสน ซึ่งปีนี้ดูท่าจะฮอตกว่าทุกปี ก็ได้เวลาที่เจ้าดอกสีชมพูเริ่มบานอวดโฉมกันแล้ว โดยปกติดอกชมพูพันธุ์ทิพย์ กำแพงแสน จะเริ่มบานในช่วงเดือนมีนาคมของทุกปี แต่ปีนี้มาให้เห็นกันช้าซักหน่อย แต่น่ะยังดีกว่าไม่มาน่ะจ๊ะ ไปด้วยกันไม่พลาดนำภาพมาฝากกันเช่นเคย ไปอัพเดทกันมาสดๆร้อน เมื่อวันที่ 9 เม.ย. 58 นี้เอง

      


หมดรอบของซากุระภาคเหนือ ก็เริ่มจะย่างเข้าสู่ฤดูกาลซากุระภาคกลาง หรือ ดอกชมพูพันธุ์ทิพย์บาน กันแล้ว ดอกใหญ่ๆ สีชมพูเป็นช่อกลมๆ เห็นเด่นชัดแต่ไกล มักจะเริ่มบานต้อนรับช่วงเทศกาลวาเลนไทน์ไปจนถึงมีนาคมของทุกปี




จุดชมดอกชมพูพันธุ์ทิพย์ยอดฮิตจะอยู่ด้านหลังถนนหลังมหาวิทยาลัยหรือถนนวัฒนาเสถียรสวัสดิ์ ใกล้กับโรงเรียนสาธิตเกษตร กำแพงแสน ถนนเส้นนี้มีต้นชมพูพันธุ์ทิพย์ขึ้นเรียงรายกันเป็นร้อยต้น หลังจากขับรถเข้ามาในมหาวิทยาลัยแล้วตรงดิ่งมายังถนนด้านหลังจะเจออุโมงค์สีชมพูจุดแรกจอดรถตรงร้านสเต็กเฮาส์จากนั้นเดินออกมาถ่ายภาพ เห็นภาพแล้วแทบกรี๊ดบรรยากาศเหมือนกับซากุระที่ญี่ปุ่นยังไง ยังงั้น ปีนี้ดอกชมพูพันธุ์ทิพย์มีสีขาวแซมมาเยอะ







รวมงาน

งานเดี่ยว





Colar Mix 



งานกลุ่ม











รวมบล็อคเพื่อน


1. นางสาวสิรินภา   ทองพูล http://sirinapa0872.blogspot.com/

2. นางสาวรติมา   ปิดตาระโพธิ์ http://libkukps.blogspot.com/

3. นางสาวธัญญารัตน์   วรรณพิณ http://thunyarathdd0147.blogspot.com/

4. นายอภิสิทธิ์   เหมือนเงิน http://apisit1909.blogspot.com/

5. นายวรนาถ   จำปา http://woranat12345.blogspot.com/

6. นางสาวชะนันฐา   นาคสนิท http://chananta0074.blogspot.com/

7. นางสาวณัฐพร   วงษ์กระจ่าง http://nattaporn0741.blogspot.com/

8. นายเอกภพ   ทับทิมทอง http://aekkapop0902.blogspot.com/

9. นายอภิสิทธิ์   ชวนอยู่ http://apisit0333.blogspot.com/

10. นางสาวอุมาพร   รังกลิ่น http://umaporn0376.blogspot.com/

11. นางสาวอรวรรณ   จันทร์ดี  http://orawan1186.blogspot.com/

12. นายพีระพัฒน์   สูญกลาง http://phirapat0210.blogspot.com/

13. นายชวลิต   ปะลาวัน

14. นางสาวนิพาดา   ธนวัฒนพงศ์  http://niphada1801.blogspot.com/

15. นางสาวกุลดา   ยิ้มสีมา http://kullada0015.blogspot.com/

16. นางสาวนุชจรี   ภูสีเงิน http://nuchjaree1810.blogspot.com/

17. นายณัฐพงศ์   ดรหลักคำ

18. นายจตุรพล   กำปั่น http://jaturapon2536.blogspot.com/

19. นางสาวน้ำอ้อย   ชื่นยินดี http://namoiy767.blogspot.com/

20. นายวุฒิกร   สระทองลั่น http://wuthikorn0261.blogspot.com/

21. นายสุวิทย์   ดำครุฑ http://suwit1212.blogspot.com/

22. นางสาวศิริลักษณ์   บุศย์รัศมี http://siriluk1879.blogspot.com/

23. นางสาวจีรวรรณ   ธนวัฒนพงศ์  http://jeerawan1780.blogspot.com/

24. นายไกรเพชร   เจนจบ http://kraiphet023.blogspot.com/

25. นางสาวสาวิตรี   เมืองช้าง http://muangchang0864.blogspot.com/

26. นางสาวพรพิมล   บุญนาม http://ponpoimol5520600201.blogspot.com/

27. นางสาววรรณนิษา   พุ่มอุไร  http://wannisa1381.blogspot.com/

28. นายเจนรงค์   เอี่ยมคงสี  http://jannarong0058.blogspot.com/

29. นายพิชาพร   เชื้อทอง http://pichaporn0783.blogspot.com/

30. นางสาวณิชารีย์   แซ่ฉั่ว http://nichalee2166.blogspot.com/

31. นายอภิชาติ   พิกุลหอม http://apichat0881.blogspot.com/

32. นายนิติพล   สายแก้ว http://nitipon180.blogspot.com/

33. นายดุลยรัตน์   แก่นทรัพย์ http://dulyarat0112.blogspot.com/

34. นายสหรัฐ   เชื้อสาย http://saharat0279.blogspot.com/

35. นายพลวัฒน์   จงสำราญ http://ponlawat1852.blogspot.com/

36. นางสาวสุภาดา   นาคโสมกุล http://supada1895.blogspot.com/

37. นายชัชวาลย์   พูลสวัสดิ์ http://chatchawanrutsameekul2140.blogspot.com/

38. นายสุทธิ์พงศ์   โพธิ์ผลิ http://sutipong0309.blogspot.com/

39. นางสาววิราวรรณ   เทียนทอง http://wirawan0813.blogspot.com/

40. นายวัชรพงศ์   ดอกเข็ม http://watchaapong.blogspot.com/

41. นางสาวนพรัตน์   หอมอุบล http://mheenopparut.blogspot.com/

Tuesday, April 7, 2015






ตัวอย่างการเรียนการสอนในประเทศสหัฐอเมริกา









มาทำความเข้าใจกับระบบการศึกษาของ
ประเทศสหรัฐอเมริกากันก่อนนะคะ


  ระบบการศึกษาของประเทศสหรัฐอเมริกามีหลายสาขาวิชาให้นักศึกษาชาวต่างชาติเลือก นักศึกษาจะต้องทำการตัดสินใจเลือกตั้งแต่ประเภทของโรงเรียน หลักสูตรวิชาเรียน และสถานที่ตั้งของโรงเรียน ซึ่งมีตัวเลือกให้เลือกอย่างมากมายล้นหลาม ดังนั้นการที่นักศึกษาจะทำการตัดสินใจเลือกที่เรียนได้นั้น นักศึกษาต้องทำความเข้าใจกับระบบการศึกษาของประเทศนี้ก่อน เพื่อช่วยให้นักศึกษาสามารถเลือกโรงเรียนและวางแผนการศึกษาของตัวเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ



โครงสร้างการศึกษาของประเทศสหรัฐอเมริกา

ระบบการให้เกรด

       นักศึกษาชาวต่างชาติต้องแนบใบประเมินผลการศึกษาของตนพร้อมกับใบสมัครเข้าวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัยในประเทศสหรัฐอเมริกาให้เหมือนกับนักศึกษาชาวอเมริกันคนอื่น ๆ ซึ่งใบประเมินผลการศึกษานี้จะเป็นเอกสารหลักในการแสดงผลการศึกษาของนักศึกษา ได้แก่ เกรดและเกรดเฉลี่ย (GPA) ซึ่งเป็นตัววัดผลการศึกษาของนักศึกษา และการให้เกรดในประเทศสหรัฐอเมริกานั้นจะให้เป็นเปอร์เซ็น และจำนวนเปอร์เซ็นจะถูกผันแปรเป็นเกรดแบบตัวอักษร

       บางครั้งระบบการให้เกรดและเกรดเฉลี่ย (GPA) ในประเทศสหรัฐอเมริกาก็มีความยุ่งยากซับซ้อนและทำให้นักศึกษาสับสน โดยเฉพาะกับนักศึกษาชาวต่างชาติ อีกทั้งมีการผันแปรเกรดด้วย ตัวอย่างเช่น มีนักศึกษาสองคนสำเร็จการศึกษามาจากโรงเรียนมัธยมศึกษาคนละแห่ง ทั้งคู่ยื่นใบสมัครเข้ามหาวิทยาลัยพร้อมกันและมีเกรดเฉลี่ยเท่ากันคือ 3.5 GPAs แต่นักศึกษาคนหนึ่งสำเร็จการศึกษามาจากโรงเรียนมัธยมศึกษาธรรมดา แต่นักศึกษาอีกคนสำเร็จการศึกษามาจากโรงเรียนมัธยมศึกษาที่มีชื่อเสียงโด่งดังทางด้านวิชาการ ดังนั้นทางมหาวิทยาลัยอาจจะมองดูเกรดเฉลี่ยในใบประเมินผลการศึกษาและให้คะแนนนักศึกษาทั้งสองคนต่างกัน เนื่องจากทั้งสองคนมาจากโรงเรียนที่มีมาตรฐานทางการศึกษาไม่เหมือนกัน


ปีการศึกษา

         ปฏิทินการศึกษาของประเทศสหรัฐอเมริกาจะเริ่มในเดือนสิงหาคมหรือเดือนกันยายนและดำเนินการเรียนการสอนต่อไปจนถึงเดือนพฤษภาคมหรือเดือนมิถุนายน นักศึกษาใหม่ส่วนมากจะเริ่มต้นการศึกษาในช่วงฤดูใบไม้ร่วง ดังนั้นจึงเป็นช่วงเวลาที่ดีสำหรับนักศึกษาชาวต่างชาติในการเริ่มต้นการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยของตนที่ประเทศสหรัฐอเมริกา เพราะเป็นช่วงเวลาแห่งความตื่นเต้น นักศึกษาทุกคนกำลังเริ่มต้นการศึกษาใหม่เหมือนกันหมด และกำลังปรับตัวให้เข้ากับชีวิตใหม่ของการเป็นนักศึกษา นักศึกษาจะสามารถพบและสร้างความสัมพันธ์กับเพื่อนใหม่ได้ในช่วงเวลานี้ได้ดีที่สุด นอกจากนั้นแล้ว ทางมหาวิทยาลัยยังได้ออกแบบหลายหลักสูตรวิชาที่นักศึกษาสามารถเลือกศึกษาได้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะเริ่มต้นในช่วงฤดูใบไม้ร่วงและดำเนินการทำการเรียนการสอนต่อไปจนถึงสิ้นปี

       หนึ่งปีการศึกษาของโรงเรียนหลายแห่งประกอบด้วยสองเทอม เรียกว่าระบบ “Semesters“(โรงเรียนบางแห่งมีสามเทอมต่อหนึ่งปีการศึกษาซึ่งเป็นที่รู้จักกันว่าระบบ “trimester”) นอกจากนี้ โรงเรียนบางแห่งได้รวมการเรียนการสอนภาคฤดูร้อนที่เป็นหลักสูตรวิชาเลือกไว้ด้วยกันจึงแบ่งหนึ่งปีการศึกษาออกเป็นสี่เทอม โดยทั่วไปแล้ว ถ้านักศึกษาไม่ได้ลงเรียนภาคฤดูร้อน หนึ่งปีการศึกษาก็จะแบ่งออกเป็นสองเทอม (Semesters) หรือสามส่วนสี่เทอม (trimester)



หน่วยกิต


     หลักสูตรวิชาหนึ่งจะมีหน่วยกิตเป็นตัวเลขหนึ่งจำนวนหรือเป็นจำนวนชั่วโมง ส่วนใหญ่จะเป็นจำนวนชั่วโมงที่นักศึกษาทำการเรียนภายในหนึ่งสัปดาห์ โดยส่วนใหญ่หนึ่งหลักสูตรวิชาจะเท่ากับสามถึงห้าหน่วยกิต

    หลักสูตรเต็มเวลาในโรงเรียนส่วนใหญ่จะมี 12-15 หน่วยกิตชั่วโมง (สี่หรือห้าหลักสูตรวิชาต่อหนึ่งเทอม) และนักศึกษาต้องเข้าทำการศึกษาให้ได้จำนวนหน่วยกิตที่กำหนดเพื่อสำเร็จการศึกษา นักศึกษาชาวต่างชาติต้องศึกษาในหลักสูตรเต็มเวลาเท่านั้น

     การโอนย้าย นักศึกษาที่ย้ายไปทำการศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยแห่งใหม่สามารถโอนย้ายหน่วยกิตที่ได้จากมหาวิทยาลัยเดิมมาใช้ในที่ใหม่ได้ ดังนั้นนักศึกษาจึงสามารถย้ายมหาวิทยาลัยและสำเร็จการศึกษาภายในเวลา
ที่เหมาะสมได้









ที่มา: 
   www.http://studyusa.com/th/a/406.
    












Thursday, February 5, 2015




ความรู้ทางด้านสุขศึกษาและพลศึกษา





















จัดทำโดยนิสิตภาควิชาพลศึกษาและกีฬา ชั้นปีที่ 3 คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ 
มหาวิทยาลัยเกษตร์ศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
ขอบคุณที่เข้ามารับชมผลงานของพวกเราค่ะ.